ช่วงระหว่างกลางครั้งที่ 1 (ราว 2181-2060 ปีก่อนคริสตกาล) ของ รายพระนามฟาโรห์

ช่วงระหว่างกลางครั้งที่ 1 (ตั้งแต่ 2181-2060 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นช่วงเวลาของความระส่ำระสายและความสับสนวุ่นวายระหว่างจุดจบของช่วงอาณาจักรเก่ากับการมาถึงของช่วงราชอาณาจักรกลาง

ช่วงราชอาณาจักรเก่าเสื่อมอำนาจลงอย่างรวดเร็วหลังจากการสิ้นพระชนม์ของฟาโรห์เปปิที่ 2 หลังจากพระองค์ทรงครอบครองมานานกว่า 64 ปี และอาจจะเป็นไปได้มากถึงถึง 94 ปี ทำให้เป็นกษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ ในช่วงปลายรัชสมัยของพระองค์เสื่อมอำนาจลงเสียมาก เนื่องจากพระองค์มีพระชนม์ที่มากขึ้น ทำให้เกิดการแตกสลายของอาณาจักรและผู้นำระดับภูมิภาคต้องรับมือกับความอดอยากที่เกิดขึ้น

ฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่เจ็ดและแปด ซึ่งเป็นตัวแทนของผู้สืบทอดราชวงศ์ที่หก พยายามยึดอำนาจบางส่วนไว้ในเมมฟิส แต่ได้รับความไว้วางใจจากผู้มีอำนาจหลายคน หลังจาก 20 ถึง 45 ปีพวกเขาถูกล้มล้างโดยกลุ่มฟาโรห์แห่งใหม่ในเฮราคลีโอโพลิส บางช่วงเวลาหลังจากเหตุการณ์เหล่านี้สายคู่แข่งที่ยึดครองเมืองธีบส์ ได้ก่อการจลาจลต่อต้านฟาโรห์ของอียิปต์บน และประมาณ 2055 ปีก่อนคริสตกาล ฟาโรห์เมนทูโฮเทปที่ 2 ซึ่งเป็นพระราชโอรสและเป็นผู้สืบทอดอำนาจของฟาโรห์อินโยเทฟที่ 3 ทรงเอาชนะฟาโรห์ของอียิปต์ล่างที่ครองเมืองเฮราคลีโอโพลิส และได้รวมอียิปต์บนและล่างเข้าด้วยกัน ซึ่งต่อมาก็เกิดเป็นยุคราชอาณาจักรกลาง

ราชวงศ์ที่เจ็ดและแปดปกครองโดยรอบประมาณ 20-45 ปี พวกเขาประกอบด้วยพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ชั่วคราวจำนวนมากที่เมมฟิสในอียิปต์บน อาจแบ่งแยกออกจากกันและในกรณีใด ๆ ถือเฉพาะอำนาจ เนื่องจากระบบศักดินาอย่างมีประสิทธิภาพในการบริหารงานซึ่งได้พัฒนา

เมืองหลวงอยู่ที่ เมมฟิส ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่เจ็ดและแปดแห่งอียิปต์ ประมาณระหว่าง 2181 ถึง 2160 ปีก่อนคริสตกาล

พระนามรูปภาพความคิดเห็นรัชกาล
เมนคาเรอาจจะมีความสัมพันธ์กับพระราชินีนีท[4][5][6]
เนเฟอร์คาเรที่ 2
เนเฟอร์คาเรที่ 3 เนบี้ได้รับการรับรองโดยจารึกในหลุมฝังศพของพระมารดาของพระองค์ อังค์เซนเปปิ เริ่มก่อสร้างปิรามิดในเมืองซัคคารา
ดเจตคาเร เซมาไอ
เนเฟอร์คาเรที่ 4 เคนดู
เมอร์เอนฮอร์
เนเฟอร์คามิน
ไนคาเร
เนเฟอร์คาเรที่ 5 เทเรอู
เนเฟอร์คาฮอร์
เนเฟอร์เคเรที่ 6 เปปิเซนเนบ
เนเฟอร์คามิน อนู
กาคาเร ไอบิสร้างพิรามิดคากาเรที่ซัคคาราที่จารึกไว้ในบทสรรเสริญฟาโรห์2169–2167 ปีก่อนคริสตกาล
เนเฟอร์คาอูเรทรงสร้างวิหารเทพมินที่เมืองคอปตอส2167–2163 ปีก่อนคริสตกาล
เนเฟอร์คาอูเร คูวิฮาไปทรงสร้างวิหารเทพมินและคำจารึกในหลุมฝังศพของฟาโรห์เซไม2163–2161 ปีก่อนคริสตกาล
เนเฟอร์อิร์คาเรทรงสร้างวิหารเทพมิน2161–2160 ปีก่อนคริสตกาล

ราชวงศ์ที่เก้า

ราชวงศ์ที่เก้าแห่งอียิปต์[7] ปกครองระหว่าง 2160 ถึง 2130 ปีก่อนคริสต์ศักราช บันทึกพระนามแห่งตูริน มีฟาโรห์รวมทั้งราชวงศ์ที่เก้าและสิบปกครองอยู่ 18 พระองค์ พระนามสูญหาย 12 พระนาม และพระนามเหลือเพียงบางส่วนอีก 4 พระองค์[8]

เมืองหลวงอยู่ที่ เฮราคลีโอโพลิส ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่เก้าแห่งอียิปต์

พระนามรูปภาพความคิดเห็นรัชกาล
เมรี้อิบเร เคตี้ที่ 1

(อัคโตเอสที่ 1)

เป็นผู้ก่อตั้งราชวงศ์ที่เก้า2160-?
-?
เนเฟอร์คาเรที่ 7-?
เนบคาอูเร เคตี้ที่ 2

(อัคโตเอสที่ 2)

-?
เซเนนห์— หรือ เซทุต-?
-?
เมรี่-—-?
เชด-—-?
ฮ-—-?

ราชวงศ์ที่สิบ

ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่สิบแห่งอียิปต์

ราชวงศ์ที่สิบแห่งอียิปต์ เป็นราชวงศ์ที่ปกครองท้องถิ่นในอียิปต์ตอนล่าง ปกครองตั้งแต่ 2130 ถึง 2040 ปีก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งราชวงศ์ที่ 11 สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์ของเจ้าผู้ปกครองนครธีบส์ ที่เคยรับราชการให้กับราชวงศ์ที่ 8, 9 และ 10

พระรูปพระนามความคิดเห็นรัชกาล
เมรี่ฮาเธอร์2130-?
เนเฟอร์คาเรที่ 8?
วาฮ์คาเร เคตี้ที่ 3

(อัคโตเอสที่ 3)

?
เมรี่คาเร?-2040

ราชวงศ์ที่สิบเอ็ด

ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่สิบเอ็ดแห่งอียิปต์

ราชวงศ์ที่สิบเอ็ด เป็นผู้ปกครองท้องถิ่นที่มีรากฐานมาจากอียิปต์ตอนบน ซึ่งราชวงศ์นี้ปกครองตั้งแต่ 2134 ถึง 1991 ปีก่อนคริสตกาล ศูนย์กลางอำนาจของราชวงศ์ที่สิบเอ็ดอยู่ในเมืองธีบส์ ซึ่งปกครองช่วงเวลาเดียวกันกับราชวงศ์ที่แปด เก้า สิบ ซึ่งปกครองอียิปต์ตอนล่าง

พระรูปพระนามความคิดเห็นรัชกาล
อินโยเทฟ ผู้อาวุโส ไอรี-พัทเป็นเจ้าเมืองที่ไม่มีตำแหน่งเป็นฟาโรห์ อาจจะเป็นผู้ก่อตั้งของราชวงศ์ที่สิบเอ็ด

ตำแหน่งผู้สืบทอดจากอินโยเทฟ ผู้อาวุโส เริ่มต้นด้วยฟาโรห์เมนทูโฮเทปที่ 1 และในที่สุดก็สามารถเอาชนะอียิปต์ล่างในรัชสมัยของฟาโรห์เมนทูโฮเทปที่ 2

พระนามรูปภาพความคิดเห็นรัชกาล
เมนทูโฮเตปที่หนึ่งเป็นฟาโรห์พระองค์แรกของราชวงศ์ที่สิบเอ็ด?-2134 ปีก่อนคริสตกาล
อินโยเตฟที่หนึ่งฟาโรห์พระองค์แรกของราชวงศ์ที่ใช้พระนามฮอรัส2134-2117 ปีก่อนคริสตกาล
อินโยเตฟที่สอง2117-2069 ปีก่อนคริสตกาล
อินโยเตฟที่สาม2069-2060 ปีก่อนคริสตกาล

ใกล้เคียง

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ รายพระนามฟาโรห์ รายพระนามจักรพรรดิและพระมหากษัตริย์จีน รายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์ รายพระนามเจ้านายพระชันษายืนในราชวงศ์จักรี รายพระนามและชื่ออธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย รายพระนามและชื่อผู้บัญชาการทหารบกไทย รายพระนามพระมหากษัตริย์เกาหลี รายพระนามและชื่ออภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย

แหล่งที่มา

WikiPedia: รายพระนามฟาโรห์ http://www.ancient-egypt.org/ http://www.ancient-egypt.org/index.html http://www.digitalegypt.ucl.ac.uk//chronology/amen... http://www.digitalegypt.ucl.ac.uk/chronology/2inte... http://www.digitalegypt.ucl.ac.uk/chronology/amene... http://www.digitalegypt.ucl.ac.uk/chronology/meren... http://www.digitalegypt.ucl.ac.uk/chronology/nakht... http://www.digitalegypt.ucl.ac.uk/chronology/ramse... http://www.digitalegypt.ucl.ac.uk/chronology/setyi... http://www.digitalegypt.ucl.ac.uk/chronology/sipta...